เจาะสถานการณ์ ภาษียาสูบไทย
ในวันที่บุหรี่เถื่อนระบาด
เข้าใจการจัดเก็บภาษียาสูบ
ผลกระทบจากการปรับโครงสร้างภาษียาสูบ
บุหรี่เถื่อนระบาด
ผู้ผลิตและเกษตรกรไทยได้รับผลกระทบ
รัฐบาลเก็บภาษียาสูบได้ลดลง
ข้อเสนอแนะ
เจาะสถานการณ์
ภาษียาสูบไทย
ในวันที่บุหรี่เถื่อนระบาด
2563
2564
2565
2566
2567
2568
51,248
ล้านบาท
5,436
ล้านบาท*
10%
2%
1.5%
2%
2%
ภาพประกอบนี้สร้างขึ้นโดย AI
2,063
ล้านบาท
ภาพประกอบนี้สร้างขึ้นโดย AI
*สมมติฐาน:1. ราคายาสูบประเภทบุหรี่ซิกาแรตเฉลี่ย 70 บาทต่อซอง
2. ปริมาณการจำหน่ายมวนยาสูบ (คาดการณ์) ปี 2567 จำนวน 1,109,420,000 ซอง (20 มวนต่อซอง) อ้างอิงข้อมูลจาก Nielsen
ภาพประกอบนี้สร้างขึ้นโดย AI
คำนวณระบบอัตราเดียว
ภาษีตามมูลค่า
บุหรี่ไทย
บุหรี่นำเข้า
ราคาขาย ณ โรงอุตสาหกรรมยาสูบ
x
อัตราภาษีตามมูลค่า (ร้อยละ)
(1-อัตราภาษีตามมูลค่า (ร้อยละ))
หรือ
(เสียเฉพาะภาษีที่จ่ายแพงกว่า)ระหว่าง
ภาษีตามปริมาณ
ปริมาณ (กรัม)
x
อัตราภาษีตามปริมาณ
ตัวอย่างการคำนวณภาษีอัตราเดียว
ทำไมต้องเปลี่ยน?
เพิ่มรายได้ภาษียาสูบด้วยราคาบุหรี่ที่แพงขึ้น
รัฐต้องการลดจำนวนผู้สูบบุหรี่
ปกป้องผู้ผลิตยาสูบภายในประเทศ
ที่ขายต่ำกว่าซองละ 60 บาท
จึงทำให้เกิด
เปลี่ยนจากระบบคำนวณอัตราเดียว เป็นระบบคำนวณแบบผสม 2 อัตรา
ภาษีตามมูลค่า
อัตราภาษี 20%
ของราคาขายปลีกไม่รวม VAT
และ
ภาษีตามปริมาณ
บาท ต่อซอง
(20 มวน)
ภาษีตามมูลค่า
อัตราภาษี 40%
ของราคาขายปลีกไม่รวม VAT
และ
ภาษีตามปริมาณ
บาท ต่อซอง
(20 มวน)
ตัวอย่างการคำนวณระบบผสม 2 อัตรา ปี
ทำไมต้องเปลี่ยน?
กรมสรรพสามิตเห็นว่าโควิด-19 กระทบต่อเกษตรกรยาสูบ จึงต้องการระยะเวลาเตรียมความพร้อมก่อนปรับเป็นอัตราเดียว
ต้องการปรับอัตราเพิ่มให้
จัดเก็บภาษียาสูบได้มากขึ้น
จึงทำให้เกิด
เพิ่มอัตราการเก็บภาษีตามมูลค่าและภาษีตามปริมาณ
ภาษีตามมูลค่า
อัตราภาษี 25%
ของราคาขายปลีกไม่รวม VAT
และ
ภาษีตามปริมาณ
บาท ต่อซอง
(20 มวน)
ภาษีตามมูลค่า
อัตราภาษี 42%
ของราคาขายปลีกไม่รวม VAT
และ
ภาษีตามปริมาณ
บาท ต่อซอง
(20 มวน)
ตัวอย่างการคำนวณระบบผสม 2 อัตรา ปี
(+10.47%)
(+10.53%)
(กลุ่มงานคณะกรรมการการเงิน การคลัง สถาบันการเงินและตลาดการเงิน สำนักกรรมาธิการ 1 สำนักเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร)
อ้างอิง* THE LINK BETWEEN ILLICIT TOBACCO TRADE AND ORGANISED CRIME (University of Osnabrück/ZEIS, 2018)
อ้างอิง* THE LINK BETWEEN ILLICIT TOBACCO TRADE AND ORGANISED CRIME (University of Osnabrück/ZEIS, 2018)
> แตะที่กล่องเพื่ออ่านคำอธิบาย <
บุหรี่ที่ไม่เสียภาษีตามกฎหมาย ลักลอบนำเข้า
มาจากต่างประเทศ
บุหรี่ที่เลียนแบบฉลากยี่ห้อ
ของบุหรี่ไทยหรือบุหรี่นอก ที่มีอยู่แล้วในตลาดโดยไม่ได้รับอนุญาตและ ไม่เสียภาษีตามกฎหมาย
อ้างอิงข้อมูลราคาบุหรี่ก่อน ต.ค. 2564 และหลัง ต.ค. 2564 จากอินโฟกราฟิก สำรวจราคาบุหรี่ไทย "ก่อน-หลัง" คลังขึ้นภาษี โดยสำนักข่าวออนไลน์ไทยพับลิก้า
แผนภูมิแสดงสัดส่วนของบุหรี่ผิดกฎหมาย ในประเทศไทย ตั้งแต่ปี 2556 ถึง 2567 จากผลการสำรวจซองบุหรี่เปล่าใน ประเทศไทย โดย NIQ
หลังปรับโครงสร้างภาษียาสูบในปี 2560
สัดส่วนของบุหรี่ผิดกฎหมายขยับจาก 2.9% ในปี 2559 เป็น 6.6% ในปี 2560
หลังการปรับขึ้นภาษียาสูบในปี 2564
สัดส่วนของบุหรี่ผิดกฎหมายขยับจาก 6.2% ในปี 2563 เป็น 11.4% ในปี 2564 และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง
จำนวนสัดส่วนบุหรี่ผิดกฎหมายล่าสุดในไตรมาสที่ 3 ปี 2567
พุ่งสูงถึง 25.4% ซึ่งถือเป็นสัดส่วนที่สูง แบบก้าวกระโดดเมื่อเทียบกับปีก่อนๆ
แผนภูมิแสดงสถานการณ์ผู้สูบบุหรี่ไฟฟ้า ของประชากร อายุ 15 ขึ้นไป ระหว่างปี 2557-2566
หมายเหตุ:
ข้อมูลปี 2557, 2560, 2564 มาจากการสำรวจสถานการณ์การสูบบุหรี่ไฟฟ้าของประชากร อายุ 15 ขึ้นไปของ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ข้อมูลปี 2565 มาจากโครงการขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปลอดบุหรี่ ของมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ โดยมีขนาดกลุ่มตัวอย่างอายุ 15 ปีขึ้นไป
หลังปรับโครงสร้างภาษียาสูบในปี 2560
ในขณะนั้น ได้มีการออกกฎหมายห้ามการนำเข้าบุหรี่ไฟฟ้า ทำให้ตัวเลขผู้สูบบุหรี่ไฟฟ้าปี 2560 ลดลงเป็น 11,097 คน จาก 48,336 คน
หลังการปรับขึ้นภาษียาสูบในปี 2564
ในปี 2564 ผู้สูบบุหรี่ไฟฟ้า กลับสูงขึ้นเป็น 78,742 คน
จำนวนผู้สูบบุหรี่ไฟฟ้าล่าสุด
พบผู้สูบบุหรี่ไฟฟ้า 709,677 คน เพิ่มขึ้น 10 เท่าของผลสำรวจในปีก่อนหน้าจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ
แผนภูมิการสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่ และการดื่มสุราของประชากร โดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ
ก่อนปรับโครงสร้างภาษียาสูบปี 2560
ในทุกๆ 3 ปีพบว่าอัตราการสูบบุหรี่ของประชากรไทยลดลงอย่างต่อเนื่อง ตลอดเกือบ 20 ปีที่ผ่านมา
หลังการปรับขึ้นภาษียาสูบในปี 2564
อัตราการสูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไปมีการลดลง แต่ไม่ได้ลดลงอย่างมีนัยสำคัญมากนัก
แผนภูมิแสดงสัดส่วนทางการตลาดของการยาสูบแห่งประเทศไทย ตั้งแต่ปี 2560-2566
หลังปรับโครงสร้างภาษียาสูบในปี 2560
การยาสูบแห่งประเทศไทย (ยสท.) เสียส่วนแบ่งตลาดจาก 79.06% ลดลงเหลือ 59.68% ในปี 2561
หลังการปรับขึ้นภาษียาสูบในปี 2564
ในปี 2565 ส่วนแบ่งทางการตลาดของการยาสูบฯ เหลือเพียง 49.82% ซึ่งต่ำกว่าครึ่งหนึ่งของส่วนแบ่งตลาด
ส่วนแบ่งทางการตลาดล่าสุด
ในปี 2566 ส่วนแบ่งทางการตลาดของการยาสูบฯ อยู่ที่ 52.29%
นอกจากจะสูญเสียส่วนแบ่งทางการตลาดการยาสูบแห่งประเทศไทยยังสูญเสียรายได้ อย่างมีนัยสำคัญ หลังการปรับโครงสร้างภาษียาสูบในปี 2560 และ 2564
หลังปรับโครงสร้างภาษียาสูบในปี 2560
การยาสูบแห่งประเทศไทย (ยสท.)
มีรายได้น้อยลงจาก 68,175 ล้านบาทในปี 2560 เป็น 50,633 ล้านบาท ในปี 2561 ลดลงจากเดิม 17,542 ล้านบาท
หลังการปรับขึ้นภาษียาสูบในปี 2564
รายได้ยังคงลดลงต่อเนื่องจาก 48,439 ล้านบาท ในปี 2564 เป็นเงิน 39,119 ล้านบาท ในปี 2565 สูญเสียรายได้จากเดิมเกือบหมื่นล้านบาท
แผนภูมิแสดงมูลค่าการรับซื้อใบยาสูบ ตั้งแต่ปี 2560-2566
หลังปรับโครงสร้างภาษียาสูบในปี 2560
ในปี 2561-2562 มูลค่าการรับซื้อลดลงเท่าตัวจาก 2,085 ล้านบาท เหลือ 1,089 ล้านบาท
หลังการปรับขึ้นภาษียาสูบในปี 2564
มูลค่าการรับซื้อยังคงลดลงต่อเนื่องเหลือเพียง 940 ล้านบาท ในปี 2566
ภาพประกอบนี้สร้างขึ้นโดย AI
อนุมัติงบประมาณรายจ่าย ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 งบกลาง รายการเงินสํารองจ่าย เพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจําเป็น จํานวน
ได้ขอจัดสรรงบประมาณจากภาครัฐ เพื่อช่วยเหลือเกษตรกร ในวงเงิน
แผนภูมิเปรียบเทียบภาษียาสูบที่รัฐบาลเก็บได้ระหว่างปีงบประมาณ 2559 - 2567
ก่อนปรับโครงสร้างภาษียาสูบในปี 2560
รัฐบาลไทยจัดเก็บรายได้จากภาษียาสูบเป็นเงิน 65,440 ล้านบาท ในปี 2559
หลังปรับโครงสร้างภาษียาสูบในปี 2560
มีแนวโน้มของการจัดเก็บภาษียาสูบลดลงอย่างต่อเนื่องในทุกปี
หลังการปรับขึ้นภาษียาสูบในปี 2564
รายได้จากการจัดเก็บภาษียาสูบลดลงอย่างมีนัยสำคัญ โดยเฉพาะในปี 2567 ที่เหลือเพียง 51,248 ล้านบาท ลดลงกว่าหมื่นล้านบาทก่อนการปรับโครงสร้างภาษียาสูบ
เพื่อเพิ่มความโปร่งใส ผู้สูบบุหรี่รู้ล่วงหน้า รัฐมีรายได้ที่คาดการณ์ได้ และลดโอกาสการค้าบุหรี่เถื่อน
อ่านกรณีศึกษาจากฟิลิปปินส์
มีหลายงานวิจัยที่สนับสนุนให้ประเทศไทยหันมาใช้อัตราภาษีเดียว เช่น
รายงาน Excise Tax Policy and Cigarette Use in High-Burden Asian Countries ตีพิมพ์เมื่อเดือน ธ.ค. 2566 โดยธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย (Asian Development Bank) ได้ให้ความเห็นว่าประเทศไทยเผชิญปัญหาราคาสูง การปรับโครงสร้างภาษียาสูบ ทำให้บริษัทยาสูบปรับตัว เช่น ลดความยาวบุหรี่ลงจาก 79-88 มิลลิเมตรเป็น 71 มิลลิเมตร และเปิดตัวแบรนด์ในราคาถูกให้ในอัตราภาษีตามมูลค่าขั้นล่าง ซึ่งทำให้ผู้สูบบุหรี่หันไปสูบบุหรี่ราคาถูก และรัฐจัดเก็บภาษีได้ไม่เป็นที่น่าพอใจ
ธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย (ADB) ระบุว่าประเทศไทยควรมีนโยบายทางภาษียาสูบอย่างจริงจัง ด้วยการยกเลิกโครงสร้างภาษียาสูบแบบหลายอัตรา และควบคุมการหลีกเลี่ยงภาษีของอุตสาหกรรมยาสูบ
โครงการวิจัยเรื่อง “การศึกษาเพื่อพัฒนาโครงสร้างภาษีสรรพสามิตยาสูบเพื่อเสนอแนะแนวทางการปฏิรูปภาษีสรรพสามิตยาสูบที่เหมาะสมกับประเทศไทย” เผยแพร่เมื่อปี 2564 โดยสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ได้อ้างอิงคำแนะนำขององค์การอนามัยโลก โดยระบุว่า องค์การอนามัยโลก (WHO) เสนอแนะให้ใช้โครงสร้างระบบภาษียาสูบที่มีความง่ายต่อการจัดเก็บ (Simplifying) ไม่ก่อให้เกิดต้นทุนการจัดเก็บภาษีที่มากขึ้นและการเลี่ยงภาษี อีกทั้งระบบภาษียาสูบตามอัตรามูลค่า 2 อัตรายังไม่ได้ลดแรงจูงใจในการสูบบุหรี่ จึงสนับสนุนให้ไทยควรมีระบบภาษียาสูบเป็นโครงสร้างแบบอัตราเดียว (Single Uniform Tax)
ทั้งหน้าร้านและแพลตฟอร์มออนไลน์ และคุมเข้มกับการตรวจที่หน้าด่านศุลกากร เพื่อป้องกันการลักลอบค้าบุหรี่เถื่อนข้ามชาติ
คำนึงทั้งรายได้ภาษีของรัฐและผลกระทบต่อสุขภาพ เพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบอย่างเหมาะสมและรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
ผ่านการแลกเปลี่ยนข้อมูล เสริมสร้างมาตรการควบคุม และบังคับใช้กฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
ยกระดับคุณภาพสินค้า ลดต้นทุน และเพิ่มโอกาสในการแข่งขันทั้งในประเทศและตลาดโลก
ขอบคุณข้อมูลจาก